ทางพระพุทธศาสนา มังกรเป็นสัญลักษณ์ของการเรียนรู้ (เครดิตรูปภาพ: Tomoko Kamishima)

วัดเคนโจ-จิของซีแนท คามากุระ

สำนักปฏิบัติสงฆ์นิกายเซนแห่งแรกในคามากุระ

ทางพระพุทธศาสนา มังกรเป็นสัญลักษณ์ของการเรียนรู้ (เครดิตรูปภาพ: Tomoko Kamishima)
Onlada Chollavorn   - ใช้เวลาอ่าน 1 นาที

ขณะนี้คือตอนบ่ายของวันเสาร์และฉันอยู่ที่วัดเคนโจ-จิในคิตะ-คามากุระ สองสามนาทีก่อนบ่ายสอง ระฆังดังขึ้นเพื่อเป็นสัญญาณเริ่มต้นของการบริการนิกายเซนซึ่งเป็นการบริการที่ฉันมาเพื่อสังเกตการณ์ นักบวชสวมใส่ผ้าสีเหลืองกำลังยืนอย่างสงบและอดทนเพื่อรอหัวหน้านักบวช เทียนมีการจุดขึ้น จากนั้น หัวหน้านักบวชมายังห้องโถง ทุกคนเริ่มสวดมนต์ด้วยเสียงโทนต่ำ พิธีกรรมจึงเริ่มต้นขึ้น

การบริการรำลึกตามนิกายเซนของเคนโจ-จิ

วัดเคนโจ-จิมีพิธีกรรมตามปกติทุกๆวันที่ 23 โดยจะเปิดให้สาธารณชนสามารถเข้าไปสังเกตการณ์ได้ ถ้าคุณต้องการสังเกตนิกายเซนอย่างใกล้ชิด ให้มาถึงก่อนบ่ายสองโมงของวันที่ 23 พิธีจะดำเนินการที่ห้องโถง สำหรับคนที่มาเร็วมากๆ เรามีทางเลือกสองทาง ในช่วงเวลาตีห้าจองวันที่ 1, 15 และ 24 ของแต่ละเดือน พวกเขาจะดำเนินพิธีการอื่นๆ

วัดนี้คือวันรินซาอิ-เซนที่มีลำดับสูงที่สุดในญี่ปุ่น โดยสร้างขึ้นเมื่อปี 1253 โดยถือเป็นศูนย์ฝึกนิกายเซนที่แรกและที่เดียว ผู้ก่อตั้งคือ โทริโยริโฮโจ ซึ้งเป็นผู้สำเร็จคนที่ห้าของคามาคุระ โชกุน หัวหน้านักบวชคนแรกของวัด คือ เรนเคอิ ดอร์ยุจากประเทศจีน โดยคำสอนสองนิกายเซนจะใช้สอนทั้งศาสนาและวัฒนธรรมและวิทยาศาสตร์ที่ก้าวหน้าที่สุดของจีน สิ่งที่ โทริโยริมุ่งหวังคือการก่อสร้างสำนักวิชาการที่ใช้สร้างคนที่มีพรสวรรค์มาช่วยปกครองคามาคุระ โชกุน

เซนคืออะไร

เซนของญี่ปุ่นประกอบไปด้วยโซโต-เซน ที่แสดงโดยวัดโซจิ-จิในสึรุมิและรินซาอิ-เซนที่แสดงโดยวัดเคนโจ-จิ ทั้งสองเกิดมาจากประเทศจีนและขยายตลอดช่วงศตวรรษที่ 13 ของญี่ปุ่น โซโต-เซนจะเน้นไปยังการนั่งสมาธิและมองว่าการนั่งสมาธิเป็นแนวทางที่สำคัญที่สุดในการตรัสรู้ ในทางตรงข้าม รินซาอิ-เซนที่มายังญี่ปุ่นโดยดอร์ยุมีคำถามมากมาย แต่ก็เน้นไปยังการนั่งสมาธิในการปฏิบัติตน ความแตกต่างคือสมดุลระหว่างสองสิ่ง คือ การนั่งสมาธิแบบเซนหรือคำถามที่มีสองด้าน นิกายทั้งสองอย่างเน้นไปยังการเปิดตารับรู้คำสอนจากผู้สอน สิ่งนี้หมายความว่า การตรัสรู้ไม่สามารถแสดงได้ด้วยคำพูดแต่จะมาจากการนั่งสมาธิและคำถามที่มีสองด้าน

รายละเอียดของอาคารหลัก

การสร้างวัดแบบเซนนั้นเรียบง่าย โดยที่จะก่อตั้งเรียงกันห้าแห่งเป็นเส้นตรง คือ ประตูนอก (โซ-มอน) ประตูหลัก (ซาน-มอน) หอพระพุทธ (บูซุ-เดน) หอพระธรรม (ฮา-โตะ) และโฮโจ

หลังเข้าไปยังประตูหลัก (ใกล้ประตู) คุณจะไปที่ประตูหลักได้อย่างรวดเร็ว โดยสิ่งนี้มีเรื่องเล่าสองเรื่อง คือ ส่วนต่ำที่เป็นที่เปิดกับส่วนบนที่มีพระพุทธรูปและรูปแบบเล็กๆห้าร้อยรูปของอาระกัน (พระสงฆ์ที่ผ่านการนิพพาน) สถานที่เหล่านี้ไม่เปิดให้มีสาธารณชนดูยกเส้นวันพิเศษ

สำหรับหอพระพุทธ รูปปั้นไม้ จิโซะ (พระโพธิสัตว์ที่ดูแลเด็กๆ นักเดินทางและโลกใต้ดิน) จัดตั้งขึ้น เหตุผลคือพื้นที่ของเคนโจ-จิอยู่บนพื้นดินที่เคยถูกเรียกว่า “หุบเขานรก” เนื่องจากใช้เป็นพื้นที่ในการประหาร จากคำสอนของพระพุทธเจ้าจิโซะจะชดเชยความลำบากที่เกิดขึ้นในการกลับชาติมาเกิดของจิตวิญญาณ

หอพระธรรมคือสถานที่สวดมนต์ของพระ โดยมีสามอย่างที่ต้องให้ความสนใจ คือ รูปปั้นที่เป็นเทพีแห่งความกรุณา ด้านหน้ามีพระพุทธปางสมาธิที่ได้รับการบริจาคมาจากรัฐบาลปากีสถานในปี 2548 จากนั้นให้ดูที่เพดาน จะพบมังกรมองลงมายังพวกเรา ซึ่งทางพระพุทธศาสนา มังกรเป็นสัญลักษณ์ของการเรียนรู้

หลังหอพระธรรมคือโฮโจซึ่งเคยเป็นที่พักของหัวหน้านักบวชแต่ตอนนี้เป็นห้องฝึกซา-เซน ทุกคนต้องถอดรองเท้าก่อนเข้าเยี่ยมชมตึก โดยจะมีทางเดินไม้ล้อมรอบห้องหลัก โดยมีสวนเซนด้านหลังและมีม้านั่งจำนวนมากที่นั่น เมื่อคุณนั่งอย่างเงียบๆ คุณจะสามารถดื่มด่ำไปกับความรู้สึกสัมผัสกับนิกายเซนได้

ต้นสนโบราณ

มากไปกว่านั้น พวกเราสามารถเห็นต้นไม้เก่าแก่มากมาย เราพบว่ามีต้นสนอายุ 750 ปีที่นำมาโดยหัวหน้านักบวชคนแรก ชื่อ ดอร์ยุจากจีนโบราณ เมื่อมองไปยังต้นไม้ใหญ่ๆเหล่านี้ ฉันคิดถึงเขาและชื่นชมเขาที่ปลูกเมล็ดแห่งวัฒนธรรมเซนในญี่ปุ่น

ข้อมูลเพิ่มเติม

ค้นหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ Kenchoji Temple

Onlada Chollavorn

Onlada Chollavorn @onlada.chollavorn

My name is Onlada. I am passionate about creative thinking and digital technology. My motto is “The price of success is hard work, dedication to the job at hand, and the determination that whether we win or lose, we have applied the best of ourselves to the task at hand.”